   |
|
 |
|
 |
|
|
ประชากรตำบลแม่จะเรา เกือบ 100% บรรพบุรุษได้อพยพย้ายถิ่นมาจาก ทางภาคเหนือได้แก่
จังหวัดลำปาง แพร่ เชียงใหม่ มาตั้งถิ่นฐาน
บ้าน
เรือนอยู่ที่ตำบลนี้ โดยทั่วไปวิถีชีวิตของ
ชาวตำบล
แม่จะเรามีความเรียบง่ายรักสงบ
ลักษณะบ้านเรือน
เป็นไม้สัก เครือญาติจะปลูก
บ้าน
อยู่ใกล้ชิดติดกัน
อดีตจะอาศัยรวมกันเป็น
ครอบครัวใหญ่ และมีอยู่
เล็กน้อยในปัจจุบัน
ซึ่งจะแยกไปเป็นครอบครัวเล็กมีวัฒนธรรม
ประเพณีต่าง ๆ ที่หลากหลายซึ่งก็เป็นประเพณี
ของแต่ละถิ่น ที่บรรพบุรุษได้อพยพย้ายถิ่นมา
การแต่งกายของชาวบ้านแต่ดั้งเดิม ผู้ชาย
นิยม
สวมเสื้อม่อฮ่อม นุ่งกางเกงขาก๊วย และ
ใช้ผ้าขาว
ม้า ผู้หญิงนิยมนุ่งผ้าถุง (ผ้าซิ่น)
นุ่งกันตั้งแต่เด็ก
จนถึงผู้ใหญ่ วัยกลางคนถึง
วัยชรานิยมใส่เสื้อคอ
กระเช้า |
|
|
|
|
|
   |
|
  |
|
|
|
|
|
|
สระน้ำ จำนวน 5 แห่ง ได้แก่ |
|

 |
บ่อน้ำสาธารณะ |
หมู่ที่ 2 |
|

 |
แหล่งน้ำสาธารณะ |
หมู่ที่ 2 |
|

 |
แหล่งน้ำสาธารณะ |
หมู่ที่ 2 |
|

 |
สระน้ำโรงเรียนแม่จะเราวิทยาคม หมู่ที่ 3 |
|

 |
หนองน้ำสาธารณะ |
หมู่ที่ 2 |
|
|
แหล่งน้ำธรรมชาติ ได้แก่ |
|

 |
ห้วยแม่จะเรา ไหลผ่านพื้นที่ หมู่ที่ 1,2,3 ,5 ,6 ตำบลแม่จะเรา |
|

 |
ลำเหมืองธรรมชาติ |
|
|
|
สถิติเพลิงไหม้รอบปี (ไม่มี) |
|
|

 |
กรณีไฟไหม้บ้านและทรัพย์สิน จำนวน 0 ครั้ง |
|
|

 |
ความสูญเสียชีวิตและทรัพย์สินจากเหตุเพลิงไหม้ ในรอบปีที่ผ่านมา เสียชีวิต 0 คน บาดเจ็บ 0 คน มูลค่าความเสียหาย 0 บาท |
|
|
|
รถยนต์ดับเพลิงมี จำนวน 2 คัน |
|
|

 |
คันที่ 1 บรรจุน้ำได้ 5,800 ลิตร ได้รับเมื่อ พ.ศ. 2535 ราคา 1,297,770 บาท |
|

 |
คันที่ 2 บรรจุน้ำได้ 6,000 ลิตร ได้รับเมื่อ พ.ศ. 2546 ราคา 1,900,000 บาท |
|
|
พนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย |
|
|

 |
พนักงานเทศบาล 1 คน ลูกจ้างประจำ จำนวน 1 คน |
|

 |
พนักงานประจำรถน้ำดับเพลิง จำนวน 6 คน |
|

 |
อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน จำนวน 146 คน |
|
|
|
|
|
มีถนนสายหลัก ได้แก่ ทางหลวงแผ่นดินสายแม่สอด - แม่ระมาด ห่างจากตัวอำเภอแม่ระมาด ประมาณ 7 กิโลเมตร ห่างจากตัวจังหวัด 115 กิโลเมตร เป็นการคมนาคมที่สะดวก |
|
|
|
|
|
    |
|